วันพุธที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2558

การบันทึกครั้งที่ 5 วันที่ 16 กันยายน 2558 เวลาเรียน 08.30-12.00

เนื้อหาที่เรียน 

แนวทางการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
- แนวทางการจัดประสบการณ์ทางภาษา 
เป็นสิ่งสะท้อนปรัชญาความเชื่อของครูเกี่ยวกับการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
Richard and Rodger (1995) ได้แบ่งมุมมองทางภาษาเป็น 3กลุ่ม
- มุมมองด้านโครงสร้างของภาษา
องค์ประกอบย่อยของภาษามาใช้ในการสื่อความหมาย
- มุมมองด้านหน้าที่ของภาษา
ภาษาเป็นเครื่องมือสำหรับสื่อความหมาย 
- มุมมองด้านปฏิสัมพันธ์
ภาษาเป้นเครื่องมือในการสร้างความสัมพันธ์ทางสังคม
การสอนภาษาแบบอ่านเเจกลูก Phonic 
- การประสมคำ
Kenneth Goodman 
- เสนอแนวการสอนแบบธรรมชาติ
- เด็กเรียนรู้ภาษาจากประสบการณ์และการลงมือทำ
หลักการสอนภาษาแบบธรรมชาติ
- การจัดสภาพแวดล้อม
- การสื่อสารที่มีความหมาย
- การเป็นแบบอย่าง
- การตั้งความคาดหวัง
- การคาดคะเน
- การใช้ข้อมูลย้อนกลับ
- การยอมรับนับถือ
- การสร้างความรู้สึกเชื่อมั่น
บทบาทครู
- ครูคาดหวังเด็กแต่ละคนแตกต่างกัน
- ใช้ประสบการณ์ตรงในการสนับสนุนการอ่าน

กิจกรรมการเรียนการสอน 

ร้องทบทวนเพลงของสัปดาห์ที่แล้ว

ความรู้ที่ได้รับ : ได้ทบทวนความรู้เดิมที่เคยร้องไปแล้วทำให้คุ้นเคยและชินกับเพลงมากยิ่งขึ้น


ชีทเพลงใหม่

ความรู้ที่ได้รับ : ได้ความรู้ใหม่เพิ่มอีกได้เพลงเพิ่มขึ้นมาทำให้มีความรู้เพิ่มขึ้นและมีเพลงเก็บเด็กเพิ่มมากขึ้น ได้ท่องจำร้องเพื่อความเคยชินความคล่องแคล่วในการใช้เพลง ได้มีเพลงใหม่ๆมาสอนเด็กๆเพิ่มเติมเด็กจะได้มีเพลงใหม่ๆไว้ร้อง


กิจกรรมตอบคำถาม 

ความรู้ที่ได้รับ : ได้ฝึกการตอบ ฝึกไหวพริบเพราะบางคนคิดไม่เหมือนกัน ทำให้การเรียนการสอนไม่เคร่งเครียดมากเกินไปมีความร่วมมือในการทำกิจกรรม กล้าตอบเพราะผิดไม่มีการด่าหรือว่าใด เป็นการเรียนการสอนที่ชอบมาก


ทวทวนทฤษฎีเก่าพร้อมกับเรียนรู้ทฤษฎีใหม่

ความรู้ที่ได้รับ : แนวทางการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
- แนวทางการจัดประสบการณ์ทางภาษา 
เป็นสิ่งสะท้อนปรัชญาความเชื่อของครูเกี่ยวกับการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
Richard and Rodger (1995) ได้แบ่งมุมมองทางภาษาเป็น 3กลุ่ม
- มุมมองด้านโครงสร้างของภาษา
องค์ประกอบย่อยของภาษามาใช้ในการสื่อความหมาย
- มุมมองด้านหน้าที่ของภาษา
ภาษาเป็นเครื่องมือสำหรับสื่อความหมาย 
- มุมมองด้านปฏิสัมพันธ์
ภาษาเป้นเครื่องมือในการสร้างความสัมพันธ์ทางสังคม
การสอนภาษาแบบอ่านเเจกลูก Phonic 
- การประสมคำ
Kenneth Goodman 
- เสนอแนวการสอนแบบธรรมชาติ
- เด็กเรียนรู้ภาษาจากประสบการณ์และการลงมือทำ
หลักการสอนภาษาแบบธรรมชาติ
- การจัดสภาพแวดล้อม
- การสื่อสารที่มีความหมาย
- การเป็นแบบอย่าง
- การตั้งความคาดหวัง
- การคาดคะเน
- การใช้ข้อมูลย้อนกลับ
- การยอมรับนับถือ
- การสร้างความรู้สึกเชื่อมั่น
บทบาทครู
- ครูคาดหวังเด็กแต่ละคนแตกต่างกัน
- ใช้ประสบการณ์ตรงในการสนับสนุนการอ่าน


เรียงลำดับพยัญชนะไทยจากตัวเขียนง่ายไปยาก

ความรู้ที่ได้รับ : ได้ทราบว่าบางที่สอนให้เด็กเขียนตัวที่ง่ายที่สุดก่อน เช่น ก.ไก่ แต่มันเป็นการทำที่ไม่ถูกต้องเพราะเด็กจะไม่ทราบว่ารตัวไหนมาก่อนมาหลังถึงจะยากจะง่ายสุดท้ายก็ได้เขียนเหมือนเดิมการสอนแบบนี้เป็นการสอนที่ไม่ได้สอนโดยไม่ได้ใช้สิ่งแวดล้อมทางภาษามาสนเราควรสอนให้เด็กเรียนรู้ไปทีละลำดับขั้นตอน มันจะดีต่อตัวเด็กเป็นอย่างมาก 


วิดีโอการสอนแบบธรรมชาติ

ความรู้ที่ได้รับ  : การสอนแบบธรรมชาติ  คือการสอนแบบองค์รวม สอนในสิ่งที่เด็กสนใจและมีความหมายสำหรับเด็ก สอนสิ่งใกล้ตัวเด็กและอยู่ในชีวิตประจำวัน สอนแทรกการฝึกทักษะการพูด อ่าน เขียน ไปพร้อมกับการทำกิจกรรม ไม่เข้มงวดกับการท่องสะกด ไม่บังคับเด็กเขียน ครูอ่านเขียนโดยมีจุดมุ่งหมายในการใช้ให้เด็กเห็น ครูเป็นแบบอย่างที่ดีให้เด็กเห็นว่าการอ่านเป็นเรื่องสนุก


ทบทวนเพลงใหม่เเละเพลงเก่า


ร้องเพลงที่ได้เรียนมาพร้อมเช็คชื่อ 


ประเมินตนเอง : จากการเรียนการสอนครั้งนี้คะแนนประเมินจาก 100 ได้ 95 เพราะมีส่วนร่วมในกิจกรรมการสอนทุกอย่างกระตือรือร้นมีความเข้าใจในการเรียนการสอนอย่างดี

ประเมินเพื่อน : จาก 100 ได้ 80 เพราะเพื่อนบางคนมาสายและทำให้กิจกรรมการสอนล่าช้าไปแต่ทุกคนมีส่วนร่วมในกิจกรรม
ประเมินอาจารย์ผู้สอน : จาก100 ได้ 100 เพราะอาจารย์สอนไม่เครียดไม่บังคับแต่เด็กนักเรียนทุกคนสนใจในการเรียนการสอนเป็นการเรียนการสอนที่เข้าใจและเข้าถึงเด็กๆทุกคน



























ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น